


AND INNOVATION




AND INNOVATION


HIGH SKILLED WORKFORCE
บุคลากรคุณภาพเป็นสินทรัพย์ที่มีค่าที่สุดสำหรับองค์กร การพัฒนาทักษะบุคลากรขององค์กรให้มีความพร้อม เรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถรองรับการทำงานที่ตอบสนองในยุคดิจิทัลและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการดำเนินธุรกิจสมัยใหม่นั้น องค์กรต้องให้ความสำคัญกับทักษะในด้านดิจิทัล (Digital Skill) และทักษะในด้านการจัดการ (Management Skill) ควบคู่ไปกับทักษะในด้านเทคนิค เนื่องจากงานที่มีลักษณะทำซ้ำจะถูกทดแทนด้วยเทคโนโลยีมากขึ้นเรื่อยๆ คนจึงต้องปรับเปลี่ยนบทบาทมาทำหน้าที่ในการบริหารจัดการเป็นหลัก อย่างไรก็ดี แนวทางการพัฒนาทักษะพนักงานให้เกิดความยั่งยืนนั้นจะต้องมีความสอดคล้องกับทิศทางหรือเป้าหมายที่องค์กรจะมุ่งไป และต้องการสร้างทัศนคติให้บุคลากรในองค์กรพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง เพื่อให้สามารถปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้
บริการสำหรับ HIGH SKILLED WORKFORCE
การเสริมสร้างสมรรถนะ
ด้านผลิตภาพ
Productivity Literacyการเปลี่ยนวิธีคิดของพนักงานให้มีจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของผลิตภาพ ควบคู่กับการเสริมทักษะและองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือผลิตภาพในยุคดิจิทัล
การเสริมสร้างสมรรถนะ
ด้านดิจิทัลDigital Literacyการพัฒนาให้พนักงานทั้งในกระบวนการผลิตหรือกระบวนการสนับสนุน ให้มีความเข้าใจและรู้เท่าทันเทคโนโลยีดิจิทัล
การพัฒนาทักษะการจัดการ
สำหรับแรงงานยุคใหม่Future Soft-Skill Setการยกระดับความสามารถด้านการจัดการของพนักงานทั้งในระดับปฏิบัติการและระดับบริหารการพัฒนาทักษะการจัดการ
สำหรับแรงงานยุคใหม่Future Soft-Skill Setการพัฒนาทักษะด้านการจัดการของพนักงานทั้งในระดับปฏิบัติการและระดับบริหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะในการจัดการกับปัญหาที่มีความซับซ้อนและสถานการณ์ที่ไม่เคยประสบมาก่อน อาทิ ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity), การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน (Complex Problem Solving), การร่วมมือในการทำงานข้ามสายงาน (Cross Collaboration)
การพัฒนาทักษะการจัดการสำหรับแรงงานยุคใหม่
Future Soft-Skill Setการพัฒนาทักษะด้านการจัดการของพนักงานทั้งในระดับปฏิบัติการและระดับบริหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะในการจัดการกับปัญหาที่มีความซับซ้อนและสถานการณ์ที่ไม่เคยประสบมาก่อน อาทิ ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity), การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน (Complex Problem Solving), การร่วมมือในการทำงานข้ามสายงาน (Cross Collaboration)
การเสริมสร้างสมรรถนะ
ด้านดิจิทัล
Digital Literacyการพัฒนาทักษะเกี่ยวกับดิจิทัลถือเป็นทักษะใหม่สำหรับแรงงานในยุคนี้ เพราะการทำงานมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการผลิตหรือกระบวนการสนับสนุน สมรรถนะด้านดิจิทัลหมายถึง ความเข้าใจและการรู้เท่าทันเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อจะสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานและจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ตัวอย่างของสมรรถนะด้านดิจิทัล เช่น การตะหนักถึงความปลอดภัยของข้อมูล (Data & Information Security), การเข้าใจโครงสร้างที่เก็บข้อมูล (Database Structure), รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่าย (Connectivity), การสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (Data Searching) หรือแม้แต่การใช้ประโยชน์จาก Social Media
การเสริมสร้างสมรรถนะด้านดิจิทัลDigital Literacyการพัฒนาทักษะเกี่ยวกับดิจิทัลถือเป็นทักษะใหม่สำหรับแรงงานในยุคนี้ เพราะการทำงานมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการผลิตหรือกระบวนการสนับสนุน สมรรถนะด้านดิจิทัลหมายถึง ความเข้าใจและการรู้เท่าทันเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อจะสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานและจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ตัวอย่างของสมรรถนะด้านดิจิทัล เช่น การตะหนักถึงความปลอดภัยของข้อมูล (Data & Information Security), การเข้าใจโครงสร้างที่เก็บข้อมูล (Database Structure), รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่าย (Connectivity), การสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (Data Searching) หรือแม้แต่การใช้ประโยชน์จาก Social Media
การเสริมสร้างสมรรถนะ
ด้านผลิตภาพProductivity Literacyการเปลี่ยนวิธีคิด (Mindset) ของพนักงานในองค์กรให้มีจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของผลิตภาพ ควบคู่กับการเสริมทักษะและองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือผลิตภาพในยุคดิจิทัล เพราะการมีผลิตภาพถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างยิ่งกับการทำงานในอนาคต แรงงานที่มีผลิตภาพในยุคดิจิทัลไม่ได้หมายความเพียงแค่การทำน้อยได้มาก (Do Less, Get More) แต่ต้องเป็นการทำงานที่ชาญฉลาด (Work Smart) สามารถวิเคราะห์และมองเห็นโอกาสในการปรับปรุงการทำงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานตามสถานการณ์เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง นอกจากนี้ยังชอบแสวงหาความท้าทายใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
การเสริมสร้างสมรรถนะด้านผลิตภาพProductivity Literacyการเปลี่ยนวิธีคิด (Mindset) ของพนักงานในองค์กรให้มีจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของผลิตภาพ ควบคู่กับการเสริมทักษะและองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือผลิตภาพในยุคดิจิทัล เพราะการมีผลิตภาพถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างยิ่งกับการทำงานในอนาคต แรงงานที่มีผลิตภาพในยุคดิจิทัลไม่ได้หมายความเพียงแค่การทำน้อยได้มาก (Do Less, Get More) แต่ต้องเป็นการทำงานที่ชาญฉลาด (Work Smart) สามารถวิเคราะห์และมองเห็นโอกาสในการปรับปรุงการทำงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานตามสถานการณ์เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง นอกจากนี้ยังชอบแสวงหาความท้าทายใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง


ด้านผลิตภาพ

ด้านดิจิทัล

สำหรับแรงงานยุคใหม่
สำหรับแรงงานยุคใหม่
การพัฒนาทักษะด้านการจัดการของพนักงานทั้งในระดับปฏิบัติการและระดับบริหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะในการจัดการกับปัญหาที่มีความซับซ้อนและสถานการณ์ที่ไม่เคยประสบมาก่อน อาทิ ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity), การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน (Complex Problem Solving), การร่วมมือในการทำงานข้ามสายงาน (Cross Collaboration)
การพัฒนาทักษะด้านการจัดการของพนักงานทั้งในระดับปฏิบัติการและระดับบริหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะในการจัดการกับปัญหาที่มีความซับซ้อนและสถานการณ์ที่ไม่เคยประสบมาก่อน อาทิ ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity), การแก้ปัญหาที่ซับซ้อน (Complex Problem Solving), การร่วมมือในการทำงานข้ามสายงาน (Cross Collaboration)
ด้านดิจิทัล
การพัฒนาทักษะเกี่ยวกับดิจิทัลถือเป็นทักษะใหม่สำหรับแรงงานในยุคนี้ เพราะการทำงานมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการผลิตหรือกระบวนการสนับสนุน สมรรถนะด้านดิจิทัลหมายถึง ความเข้าใจและการรู้เท่าทันเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อจะสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานและจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ตัวอย่างของสมรรถนะด้านดิจิทัล เช่น การตะหนักถึงความปลอดภัยของข้อมูล (Data & Information Security), การเข้าใจโครงสร้างที่เก็บข้อมูล (Database Structure), รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่าย (Connectivity), การสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (Data Searching) หรือแม้แต่การใช้ประโยชน์จาก Social Media
การพัฒนาทักษะเกี่ยวกับดิจิทัลถือเป็นทักษะใหม่สำหรับแรงงานในยุคนี้ เพราะการทำงานมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างใกล้ชิด ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการผลิตหรือกระบวนการสนับสนุน สมรรถนะด้านดิจิทัลหมายถึง ความเข้าใจและการรู้เท่าทันเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อจะสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงานและจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ตัวอย่างของสมรรถนะด้านดิจิทัล เช่น การตะหนักถึงความปลอดภัยของข้อมูล (Data & Information Security), การเข้าใจโครงสร้างที่เก็บข้อมูล (Database Structure), รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่าย (Connectivity), การสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ (Data Searching) หรือแม้แต่การใช้ประโยชน์จาก Social Media
ด้านผลิตภาพ
การเปลี่ยนวิธีคิด (Mindset) ของพนักงานในองค์กรให้มีจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของผลิตภาพ ควบคู่กับการเสริมทักษะและองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือผลิตภาพในยุคดิจิทัล เพราะการมีผลิตภาพถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างยิ่งกับการทำงานในอนาคต แรงงานที่มีผลิตภาพในยุคดิจิทัลไม่ได้หมายความเพียงแค่การทำน้อยได้มาก (Do Less, Get More) แต่ต้องเป็นการทำงานที่ชาญฉลาด (Work Smart) สามารถวิเคราะห์และมองเห็นโอกาสในการปรับปรุงการทำงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานตามสถานการณ์เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง นอกจากนี้ยังชอบแสวงหาความท้าทายใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
การเปลี่ยนวิธีคิด (Mindset) ของพนักงานในองค์กรให้มีจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของผลิตภาพ ควบคู่กับการเสริมทักษะและองค์ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือผลิตภาพในยุคดิจิทัล เพราะการมีผลิตภาพถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญอย่างยิ่งกับการทำงานในอนาคต แรงงานที่มีผลิตภาพในยุคดิจิทัลไม่ได้หมายความเพียงแค่การทำน้อยได้มาก (Do Less, Get More) แต่ต้องเป็นการทำงานที่ชาญฉลาด (Work Smart) สามารถวิเคราะห์และมองเห็นโอกาสในการปรับปรุงการทำงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานตามสถานการณ์เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง นอกจากนี้ยังชอบแสวงหาความท้าทายใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง